หน้าแรก แท็ก การ์ทเนอร์คาดการณ์มูลค่าใช้จ่ายไอทีของธุรกิจธนาคารและบริษัทหลักทรัพย์ลดลง 4.7% ปีนี้ แต่จะฟื้นกลับมาในปี 2564

แท็ก: การ์ทเนอร์คาดการณ์มูลค่าใช้จ่ายไอทีของธุรกิจธนาคารและบริษัทหลักทรัพย์ลดลง 4.7% ปีนี้ แต่จะฟื้นกลับมาในปี 2564

การ์ทเนอร์คาดการณ์มูลค่าตลาดไอทีทั่วโลกปี 2565 เติบโตเกินกว่า 4 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ 

ขณะที่ประเทศไทยเติบโตเพิ่มขึ้น 6.4% เทียบจากปีนี้ คิดเป็นมูลค่า 8.7 แสนล้านบาท   การ์ทเนอร์คาดการณ์แนวโน้มการใช้จ่ายไอทีทั่วโลกปี 2565 จะมีมูลค่า 4.5 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นเป็น 5.5% จากปี 2564 นายจอห์น-เดวิด เลิฟล็อค รองประธานฝ่ายวิจัย บริษัท การ์ทเนอร์  กล่าวว่า “องค์กรธุรกิจจะพัฒนาสร้างเทคโนโลยีและซอฟต์แวร์ใหม่ ๆ เพิ่มมากขึ้น แทนที่จะเป็นการซื้อและเอาไปใช้ ซึ่งส่งผลให้มูลค่าการใช้จ่ายไอทีปี...

การ์ทเนอร์คาดการณ์มูลค่าการใช้จ่ายไอทีทั่วโลกปี 64 โตพุ่ง 6.2%

กระแสการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลลดผลกระทบเชิงลบของโควิดต่อการลงทุนด้านไอที กรุงเทพฯ, ประเทศไทย 26 มกราคม 2564 — การ์ทเนอร์คาดการณ์แนวโน้มการใช้จ่ายไอทีทั่วโลกปี 2564 จะมีมูลค่า 3.9 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพิ่มขึ้นเป็น 6.2% จากเดิมที่ติดลบ 3.2% ในปี 2563 เป็นผลสืบมาจากผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศ (CIO) ให้ความสำคัญกับการใช้จ่ายด้านเทคโนโลยีและบริการต่าง ๆ และถือเป็น "ภารกิจสำคัญสุด" ในช่วงการระบาดระยะต้น...

การ์ทเนอร์คาดการณ์มูลค่าใช้จ่ายไอทีของธุรกิจธนาคารและบริษัทหลักทรัพย์ลดลง 4.7% ปีนี้ แต่จะฟื้นกลับมาในปี 2564

แม้ต้องเผชิญกับข้อจำกัดมากมายในสถานการณ์ปัจจุบัน แต่แหล่งที่มารายได้ใหม่ ๆ จะเป็นปัจจัยขับเคลื่อนสำคัญที่ช่วยพลิกฟื้นและขยายธุรกิจ ประเทศไทย 18 สิงหาคม 2563 - มูลค่าการใช้จ่ายด้านไอทีของธุรกิจธนาคารและบริษัทหลักทรัพย์ทั่วโลกมีแนวโน้มลดลงราว 4.7% หรือคิดเป็นมูลค่า 514 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ตามการคาดการณ์ของการ์ทเนอร์ อิงค์ โดยการใช้จ่ายด้านอุปกรณ์ไอที อาทิ ในหมวดพีซีและอุปกรณ์เคลื่อนที่จะเห็นการเติบโตลดลงมากที่สุด 12.1% ตามมาด้วยในหมวดของระบบดาต้าเซ็นเตอร์ นายเจฟฟ์ เคซี่ย์ นักวิเคราะห์อาวุโสของการ์ทเนอร์ กล่าวว่า “COVID-19...

MOST POPULAR

ttb analytics คาดรายได้ภาคเกษตร 5 พืชหลัก ปี 2567 พลิกฟื้นแตะ 9 แสนล้านบาท ด้วยอานิสงส์ด้านราคา...

ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ทีทีบี หรือ ttb analytics คาดปี 2567 รายได้เกษตรพลิกฟื้นแตะ 9 แสนล้านบาท จาก 5 พืชเศรษฐกิจ (ข้าว มันสำปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ำมัน และยางพารา) ขยายตัวจากปีก่อน 8-10% อานิสงส์จากราคายางพาราและอ้อยที่ขยายตัวสูง แม้ว่าผลผลิตในภาพรวมจะลดลงจากปัญหาภัยแล้งด้วยปริมาณน้ำฝนที่น้อยในครึ่งแรกของปี ตลอดทั้งโรคระบาดในพืช พร้อมแนะให้ภาคเกษตรไทยเร่งยกระดับศักยภาพการผลิตผ่านการใช้เทคโนโลยีการเกษตรเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันตลาดโลก

HOT NEWS